ดอกไม้ประจำจังหวัดอุดรธานี

ดอกทองกวาว หรือ ดอกจานเหลือง ดอกไม้ประจำจังหวัดอุดรธานี

ดอกไม้ประจำจังหวัดเชียงใหม่
ดอกไม้ประจำจังหวัดลำพูน
ดอกไม้ประจำจังหวัดอำนาจเจริญ

ดอกไม้ประจำจังหวัดอุดรธานี

ดอกไม้ประจำจังหวัดเชียงใหม่, ลำพูน, อำนาจเจริญ, อุดรธานี
ชื่อดอกไม้ดอกทองกวาว
ชื่อสามัญFlame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree
ชื่อวิทยาศาสตร์Butea monosperma
วงศ์LEGUMINOSAE
ชื่ออื่นกวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อิสาน)
ลักษณะทั่วไปทองกวาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงประมาณ 10–15 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปทรงไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะกลม หรือเป็นทรงกระบอก ใบประกอบมี 3 ใบ ขนาดไม่เท่ากัน ใบหนาและมีขน ใต้ใบสีเขียวอมเทา ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง คล้ายดอกถั่ว สีแสดแดงหรือเหลือง มีขน ออกดอก เดือนธันวาคม–มีนาคม ผลเป็นฝักแบน มีขนนุ่ม เมล็ด 1 เมล็ดอยู่ที่ปลายฝัก
การขยายพันธุ์การเพาะเมล็ด
สภาพที่เหมาะสมดินร่วนซุย แสงแดดจัด
ถิ่นกำเนิดอินเดีย

ดอกทองกวาว เป็นดอกไม้ประจำจังหวัด จังหวัดเชียงใหม่, จังหวัดลำพูน, จังหวัดอำนาจเจริญ, จังหวัดอุดรธานี

 


ดอกไม้ประจำจังหวัด

ภาคเหนือ

เชียงรายเชียงใหม่น่านพะเยาแพร่
แม่ฮ่องสอนลำปางลำพูนอุตรดิตถ์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมา
บึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธร
ร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์
หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี

ภาคกลาง

กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐม
นครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตร
พิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงคราม
สมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรี
อ่างทองอุทัยธานี

ภาคตะวันออก

จันทบุรีฉะเชิงเทราชลบุรีตราดปราจีนบุรี
ระยองสระแก้ว

ภาคตะวันตก

กาญจนบุรีตากประจวบคีรีขันธ์เพชรบุรีราชบุรี

ภาคใต้

กระบี่ชุมพรตรังนครศรีธรรมราชนราธิวาส
ปัตตานีพังงาพัทลุงภูเก็ตยะลา
ระนองสงขลาสตูลสุราษฏร์ธานี