ดอกกันเกรา ดอกไม้ประจำจังหวัดสุรินทร์
ดอกไม้ประจำจังหวัด | นครพนม, สุรินทร์ |
ชื่อดอกไม้ | ดอกกันเกรา |
ชื่อสามัญ | Anan, Tembusu |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Fagraea fragrans Roxb. |
วงศ์ | LOGANIACEAE |
ชื่ออื่น | กันเกรา (ภาคกลาง), ตะมะซู ตำมูซู (มลายู-ภาคใต้), ตาเตรา (เขมร-ภาคตะวันออก), ตำเสา ทำเสา (ภาคใต้), มันปลา (ภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) |
ลักษณะทั่วไป | ต้น สูงประมาณ 20–30 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดรูปไข่หรือรูปกรวยคว่ำ หนาทึบ ใบเดี่ยว รูปรีหรือแกมใบหอก สีเขียวเข้มเป็นมัน ใต้ใบสีอ่อน ออกดอกเป็นช่อจำนวนมากที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเมื่อใกล้โรย มีกลิ่นหอมเย็น ลักษณะดอกคล้ายแจกัน ออกดอกตลอดปี |
การขยายพันธุ์ | โดยการเพาะเมล็ด |
สภาพที่เหมาะสม | เติบโตได้ดีในที่ชื้นแฉะ แสงแดดจัด |
ถิ่นกำเนิด | ป่าเบญจพรรณและตามที่ใกล้แหล่งน้ำใน ประเทศอินเดีย, มาเลเซีย, พม่า, เวียดนาม และประเทศไทย |
ดอกกันเกรา เป็นดอกไม้ประจำจังหวัด จังหวัดนครพนม, จังหวัดสุรินทร์
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
เชียงราย | เชียงใหม่ | น่าน | พะเยา | แพร่ |
แม่ฮ่องสอน | ลำปาง | ลำพูน | อุตรดิตถ์ |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ | ขอนแก่น | ชัยภูมิ | นครพนม | นครราชสีมา |
บึงกาฬ | บุรีรัมย์ | มหาสารคาม | มุกดาหาร | ยโสธร |
ร้อยเอ็ด | เลย | ศรีสะเกษ | สกลนคร | สุรินทร์ |
หนองคาย | หนองบัวลำภู | อำนาจเจริญ | อุดรธานี | อุบลราชธานี |
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานคร | กำแพงเพชร | ชัยนาท | นครนายก | นครปฐม |
นครสวรรค์ | นนทบุรี | ปทุมธานี | พระนครศรีอยุธยา | พิจิตร |
พิษณุโลก | เพชรบูรณ์ | ลพบุรี | สมุทรปราการ | สมุทรสงคราม |
สมุทรสาคร | สระบุรี | สิงห์บุรี | สุโขทัย | สุพรรณบุรี |
อ่างทอง | อุทัยธานี |
ภาคตะวันออก
จันทบุรี | ฉะเชิงเทรา | ชลบุรี | ตราด | ปราจีนบุรี |
ระยอง | สระแก้ว |
ภาคตะวันตก
กาญจนบุรี | ตาก | ประจวบคีรีขันธ์ | เพชรบุรี | ราชบุรี |
ภาคใต้
กระบี่ | ชุมพร | ตรัง | นครศรีธรรมราช | นราธิวาส |
ปัตตานี | พังงา | พัทลุง | ภูเก็ต | ยะลา |
ระนอง | สงขลา | สตูล | สุราษฏร์ธานี |