ดอกพะยอม ดอกไม้ประจำจังหวัดกาฬสินธุ์
ดอกไม้ประจำจังหวัดพัทลุง
ดอกไม้ประจำจังหวัด | กาฬสินธุ์, พัทลุง |
ชื่อดอกไม้ | ดอกพะยอม |
ชื่อสามัญ | Shorea white Meranti |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Shorea talura Roxb. |
วงศ์ | DIPTEROCARPACEAE |
ชื่ออื่น | กะ ยอม (เชียงใหม่), ขะยอม (ลาว), ขะยอมดง พะยอมดง (ภาคเหนือ), แคน (ลาว), เชียง เซี่ยว (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่), พะยอม (ภาคกลาง), พะยอมทอง (สุราษฎร์ธานี, ปราจีนบุรี), ยางหยวก (น่าน) |
ลักษณะทั่วไป | พะยอม เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15–20 เมตร ทรงพุ่มกลม ผิวเปลือกสีน้ำหรือเทา เนื้อไม้มีสีเหลืองแข็ง ลำต้นแตกเป็นร่องตามยาวมีสะเก็ดหนา ใบเป็นรูปมนรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบมน ขอบใบเรียบ ด้านหลังใบมีเส้นใบชัด ดอกออกเป็นช่อ ใหญ่ส่วนยอดของต้น ดอกมีกลีบ 3 กลีบ โคนกลีบดอกติดกับก้านดอกมีลักษณะกลม กลีบดอกเรียบโค้งเล็กน้อย มีสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอม |
การขยายพันธุ์ | การเพาะเมล็ด |
สภาพที่เหมาะสม | สภาพดินทุกชนิด เป็นไม้กลางแจ้ง สามารถปรับเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีมาก |
ถิ่นกำเนิด | พบตามป่าผลัดใบ และป่าดิบ เป็นไม้พื้นเมืองของเอเชีย ไทย, พม่า, มาเลเซีย |
ดอกพะยอม เป็นดอกไม้ประจำจังหวัด จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดพัทลุง
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
เชียงราย | เชียงใหม่ | น่าน | พะเยา | แพร่ |
แม่ฮ่องสอน | ลำปาง | ลำพูน | อุตรดิตถ์ |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ | ขอนแก่น | ชัยภูมิ | นครพนม | นครราชสีมา |
บึงกาฬ | บุรีรัมย์ | มหาสารคาม | มุกดาหาร | ยโสธร |
ร้อยเอ็ด | เลย | ศรีสะเกษ | สกลนคร | สุรินทร์ |
หนองคาย | หนองบัวลำภู | อำนาจเจริญ | อุดรธานี | อุบลราชธานี |
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานคร | กำแพงเพชร | ชัยนาท | นครนายก | นครปฐม |
นครสวรรค์ | นนทบุรี | ปทุมธานี | พระนครศรีอยุธยา | พิจิตร |
พิษณุโลก | เพชรบูรณ์ | ลพบุรี | สมุทรปราการ | สมุทรสงคราม |
สมุทรสาคร | สระบุรี | สิงห์บุรี | สุโขทัย | สุพรรณบุรี |
อ่างทอง | อุทัยธานี |
ภาคตะวันออก
จันทบุรี | ฉะเชิงเทรา | ชลบุรี | ตราด | ปราจีนบุรี |
ระยอง | สระแก้ว |
ภาคตะวันตก
กาญจนบุรี | ตาก | ประจวบคีรีขันธ์ | เพชรบุรี | ราชบุรี |
ภาคใต้
กระบี่ | ชุมพร | ตรัง | นครศรีธรรมราช | นราธิวาส |
ปัตตานี | พังงา | พัทลุง | ภูเก็ต | ยะลา |
ระนอง | สงขลา | สตูล | สุราษฏร์ธานี |