ดอกช้างน้าว ดอกไม้ประจำจังหวัดมุกดาหาร
ดอกไม้ประจำจังหวัด | มุกดาหาร |
ชื่อดอกไม้ | ดอกช้างน้าว |
ชื่อสามัญ | |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Ochna integerrima (Lour.) Merr. |
วงศ์ | OCHNACEAE |
ชื่ออื่น | กระแจะ (ระนอง), กำลังช้างสาร (กลาง), ขมิ้นพระต้น (จันทบุรี), ควุ (กะเหรี่ยง-นครสวรรค์), แง่ง (บุรีรัมย์), ช้างน้าว ตานนกกรด (นครราชสีมา), ช้างโน้ม (ตราด), ช้างโหม (ระยอง), ตาชีบ้าง (กะเหรี่ยง-เชียงใหม่), ตาลเหลือง (เหนือ), ฝิ่น (ราชบุรี), โว้โร้ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) |
ลักษณะทั่วไป | ต้นสูง 3–8 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปใบหอก ขอบใบจักถี่ ใบเรียบเกลี้ยงเป็นมัน ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง 2–8 ดอก มี 5–10 กลีบ สีเหลืองดอกร่วงง่าย มีกลิ่นหอมอ่อน ออกดอก เดือนมกราคม–พฤษภาคม ผลกลม เมื่อแก่เป็นสีดำมัน กลีบเลี้ยงยังคงติดอยู่บนผล แล้วเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นแดง |
การขยายพันธุ์ | เพาะเมล็ด, ตอนกิ่ง, ตัดชำ |
สภาพที่เหมาะสม | ดินร่วน ระบายน้ำดี แสงแดดจัด |
ถิ่นกำเนิด | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
เชียงราย | เชียงใหม่ | น่าน | พะเยา | แพร่ |
แม่ฮ่องสอน | ลำปาง | ลำพูน | อุตรดิตถ์ |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ | ขอนแก่น | ชัยภูมิ | นครพนม | นครราชสีมา |
บึงกาฬ | บุรีรัมย์ | มหาสารคาม | มุกดาหาร | ยโสธร |
ร้อยเอ็ด | เลย | ศรีสะเกษ | สกลนคร | สุรินทร์ |
หนองคาย | หนองบัวลำภู | อำนาจเจริญ | อุดรธานี | อุบลราชธานี |
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานคร | กำแพงเพชร | ชัยนาท | นครนายก | นครปฐม |
นครสวรรค์ | นนทบุรี | ปทุมธานี | พระนครศรีอยุธยา | พิจิตร |
พิษณุโลก | เพชรบูรณ์ | ลพบุรี | สมุทรปราการ | สมุทรสงคราม |
สมุทรสาคร | สระบุรี | สิงห์บุรี | สุโขทัย | สุพรรณบุรี |
อ่างทอง | อุทัยธานี |
ภาคตะวันออก
จันทบุรี | ฉะเชิงเทรา | ชลบุรี | ตราด | ปราจีนบุรี |
ระยอง | สระแก้ว |
ภาคตะวันตก
กาญจนบุรี | ตาก | ประจวบคีรีขันธ์ | เพชรบุรี | ราชบุรี |
ภาคใต้
กระบี่ | ชุมพร | ตรัง | นครศรีธรรมราช | นราธิวาส |
ปัตตานี | พังงา | พัทลุง | ภูเก็ต | ยะลา |
ระนอง | สงขลา | สตูล | สุราษฏร์ธานี |