ดอกไม้ประจำจังหวัดสกลนคร

ดอกอินทนิลน้ำ ดอกไม้ประจำจังหวัดสกลนคร

ดอกไม้ประจำจังหวัดสกลนคร

ดอกไม้ประจำจังหวัดสกลนคร
ชื่อดอกไม้ดอกอินทนิลน้ำ
ชื่อสามัญQueen’s Flower, Queen’s Crape Myrtle, Pride of India
ชื่อวิทยาศาสตร์Lagerstroemia speciosa Pers.
วงศ์LYTHRACEAE
ชื่ออื่นฉ่วงมู (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), ตะแบกดำ (กรุงเทพฯ), บางอ บะซา (มลายู-ยะลา, นราธิวาส), บาเอ บาเย (ปัตตานี), อินทนิล (ภาคกลาง), อินทนิลน้ำ (ภาคกลาง, ภาคใต้)
ลักษณะทั่วไปเป็นไม้ยืนต้นสูง 10–15 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ผิวเปลือกนอกสีเทา ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีหรือรูปไข่แกมขอบขนาน ปลายใบมน ดอกย่อยขนาดใหญ่ กลีบดอกสีชมพู สีม่วงแกมชมพู หรือสีม่วง ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ผลเป็นผลแห้ง มีขนาดใหญ่
การขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
สภาพที่เหมาะสมดินทุกชนิด เป็นไม้กลางแจ้ง
ถิ่นกำเนิดที่ราบลุ่มริมน้ำ ป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบทั่วไป

 


ดอกไม้ประจำจังหวัด

ภาคเหนือ

เชียงรายเชียงใหม่น่านพะเยาแพร่
แม่ฮ่องสอนลำปางลำพูนอุตรดิตถ์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมา
บึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธร
ร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์
หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี

ภาคกลาง

กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐม
นครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตร
พิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงคราม
สมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรี
อ่างทองอุทัยธานี

ภาคตะวันออก

จันทบุรีฉะเชิงเทราชลบุรีตราดปราจีนบุรี
ระยองสระแก้ว

ภาคตะวันตก

กาญจนบุรีตากประจวบคีรีขันธ์เพชรบุรีราชบุรี

ภาคใต้

กระบี่ชุมพรตรังนครศรีธรรมราชนราธิวาส
ปัตตานีพังงาพัทลุงภูเก็ตยะลา
ระนองสงขลาสตูลสุราษฏร์ธานี