ดอกทองกวาว หรือ ดอกจานเหลือง ดอกไม้ประจำจังหวัดอำนาจเจริญ
ดอกไม้ประจำจังหวัดลำพูน
ดอกไม้ประจำจังหวัดเชียงใหม่
ดอกไม้ประจำจังหวัดอุดรธานี
ดอกไม้ประจำจังหวัด | เชียงใหม่, ลำพูน, อำนาจเจริญ, อุดรธานี |
ชื่อดอกไม้ | ดอกทองกวาว |
ชื่อสามัญ | Flame of the forest, Bastard Teak, Bengal kinotree, Kino tree |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Butea monosperma |
วงศ์ | LEGUMINOSAE |
ชื่ออื่น | กวาว ก๋าว (ภาคเหนือ), จอมทอง (ภาคใต้), จ้า (เขมร), ทองธรรมชาติ ทองพรหมชาติ ทองต้น (ภาคกลาง), ดอกจาน (อิสาน) |
ลักษณะทั่วไป | ทองกวาว เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูงประมาณ 10–15 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดรูปทรงไม่แน่นอน ส่วนใหญ่จะกลม หรือเป็นทรงกระบอก ใบประกอบมี 3 ใบ ขนาดไม่เท่ากัน ใบหนาและมีขน ใต้ใบสีเขียวอมเทา ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง คล้ายดอกถั่ว สีแสดแดงหรือเหลือง มีขน ออกดอก เดือนธันวาคม–มีนาคม ผลเป็นฝักแบน มีขนนุ่ม เมล็ด 1 เมล็ดอยู่ที่ปลายฝัก |
การขยายพันธุ์ | การเพาะเมล็ด |
สภาพที่เหมาะสม | ดินร่วนซุย แสงแดดจัด |
ถิ่นกำเนิด | อินเดีย |
ดอกทองกวาว เป็นดอกไม้ประจำจังหวัด จังหวัดเชียงใหม่, จังหวัดลำพูน, จังหวัดอำนาจเจริญ, จังหวัดอุดรธานี
ดอกไม้ประจำจังหวัด
ภาคเหนือ
เชียงราย | เชียงใหม่ | น่าน | พะเยา | แพร่ |
แม่ฮ่องสอน | ลำปาง | ลำพูน | อุตรดิตถ์ |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์ | ขอนแก่น | ชัยภูมิ | นครพนม | นครราชสีมา |
บึงกาฬ | บุรีรัมย์ | มหาสารคาม | มุกดาหาร | ยโสธร |
ร้อยเอ็ด | เลย | ศรีสะเกษ | สกลนคร | สุรินทร์ |
หนองคาย | หนองบัวลำภู | อำนาจเจริญ | อุดรธานี | อุบลราชธานี |
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานคร | กำแพงเพชร | ชัยนาท | นครนายก | นครปฐม |
นครสวรรค์ | นนทบุรี | ปทุมธานี | พระนครศรีอยุธยา | พิจิตร |
พิษณุโลก | เพชรบูรณ์ | ลพบุรี | สมุทรปราการ | สมุทรสงคราม |
สมุทรสาคร | สระบุรี | สิงห์บุรี | สุโขทัย | สุพรรณบุรี |
อ่างทอง | อุทัยธานี |
ภาคตะวันออก
จันทบุรี | ฉะเชิงเทรา | ชลบุรี | ตราด | ปราจีนบุรี |
ระยอง | สระแก้ว |
ภาคตะวันตก
กาญจนบุรี | ตาก | ประจวบคีรีขันธ์ | เพชรบุรี | ราชบุรี |
ภาคใต้
กระบี่ | ชุมพร | ตรัง | นครศรีธรรมราช | นราธิวาส |
ปัตตานี | พังงา | พัทลุง | ภูเก็ต | ยะลา |
ระนอง | สงขลา | สตูล | สุราษฏร์ธานี |