ดอกไม้ประจำจังหวัดนครราชสีมา

ดอกสาธร ดอกไม้ประจำจังหวัดนครราชสีมา

ดอกไม้ประจำจังหวัดนครราชสีมา

ดอกไม้ประจำจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อดอกไม้ดอกสาธร
ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร์Millettia leucantha Kurz
วงศ์LEGUMINOSAE
ชื่ออื่นกระเจาะ ขะเจาะ (ภาคเหนือ), กระพีเขาควาย (ประจวบคีรีขันธ์), กะเชาะ (ภาคกลาง), ขะแมบ คำแมบ (เชียงใหม่), สาธร (ภาคเหนือ)
ลักษณะทั่วไปเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 18-19 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ค่อนข้างกลมหรือทรงกระบอก เปลือกสีเทาเรียบหรือ แตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ใบเป็นใบประกอบเรียงสลับ ใบย่อยติดเป็นคู่ตรงกันข้าม 3-5 คู่ ปลายสุดเป็นใบเดี่ยว แผ่นใบ ย่อยรูปรี กว้าง 3-5 ซม. ยาว 5-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบและยอดอ่อนมีขนยาว ดอกสีขาว รูปดอกถั่ว สีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อตามง่ามใบและปลายกิ่ง ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคม-เดือนพฤษภาคม
การขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
สภาพที่เหมาะสมเป็นไม้กลางแจ้ง เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินร่วน ต้องการน้ำและความชื้นมาก
ถิ่นกำเนิด

 


ดอกไม้ประจำจังหวัด

ภาคเหนือ

เชียงรายเชียงใหม่น่านพะเยาแพร่
แม่ฮ่องสอนลำปางลำพูนอุตรดิตถ์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กาฬสินธุ์ขอนแก่นชัยภูมินครพนมนครราชสีมา
บึงกาฬบุรีรัมย์มหาสารคามมุกดาหารยโสธร
ร้อยเอ็ดเลยศรีสะเกษสกลนครสุรินทร์
หนองคายหนองบัวลำภูอำนาจเจริญอุดรธานีอุบลราชธานี

ภาคกลาง

กรุงเทพมหานครกำแพงเพชรชัยนาทนครนายกนครปฐม
นครสวรรค์นนทบุรีปทุมธานีพระนครศรีอยุธยาพิจิตร
พิษณุโลกเพชรบูรณ์ลพบุรีสมุทรปราการสมุทรสงคราม
สมุทรสาครสระบุรีสิงห์บุรีสุโขทัยสุพรรณบุรี
อ่างทองอุทัยธานี

ภาคตะวันออก

จันทบุรีฉะเชิงเทราชลบุรีตราดปราจีนบุรี
ระยองสระแก้ว

ภาคตะวันตก

กาญจนบุรีตากประจวบคีรีขันธ์เพชรบุรีราชบุรี

ภาคใต้

กระบี่ชุมพรตรังนครศรีธรรมราชนราธิวาส
ปัตตานีพังงาพัทลุงภูเก็ตยะลา
ระนองสงขลาสตูลสุราษฏร์ธานี